6 - 10 of 194 Articles

อุตสาหกรรมเครื่องจักรกลยุโรปชะลอตัวปี 2020-2024

ยันอีกเสียง เครื่องจักรกลยุโรปชะลอตัวถึงปี 2024 รอความหวัง ยานยนต์-อากาศยานฟื้น

สมาคมอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลยุโรปคาดการณ์ตลาดเครื่องจักรกลยุโรปจะฟื้นตัวอย่างล่าช้า สืบเนื่องจากการชะลอตัวของอุตสาหกรรมยานยนต์และอากาศยาน

ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่น พ.ย. 63 ฟื้นตัวครั้งแรกในรอบ 26 เดือน

สัญญาณดี! ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่น พ.ย. 63 ฟื้นตัวครั้งแรกในรอบ 26 เดือน

ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นในเดือนพฤศจิกายน 2020 ทั่วโลกมีมูลค่ารวม 845 ล้านเหรียญ เพิ่มขึ้น 8.0% จากช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า

ยอดสั่งซื้อ Machine Tools เยอรมัน ไตรมาสที่ 3/2020

ยอดสั่งซื้อ Machine Tools เยอรมัน Q3 2020 ช้ำ โควิดระลอก 2 ทำพิษ

ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลเยอรมันไตรมาสที่ 3 ปี 2020 ลดลง 29% จากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว โดยมียอดสั่งซื้อในประเทศลดลง 26% และจากต่างประเทศลดลง 30%

แนวโน้มอุตสาหกรรมเครื่องจักรกล อัปเดตท้ายปี 2020

แนวโน้มอุตสาหกรรมเครื่องจักรกล อัปเดตท้ายปี 2020

อนาคตของอุตสาหกรรมการผลิตยุคไบเดน แนวโน้มตลาด และเทคโนโลยีเครื่องจักรกลจากกลุ่มตัวแทนอุตสาหกรรมเครื่อจักรกลญี่ปุ่น

สมาคมเครื่องจักรกล สหรัฐฯ-เยอรมนี-สวิส คาด ปีนี้ตลาดหดตัวอย่างต่ำ 20%

ส.เครื่องจักรกล สหรัฐฯ-เยอรมนี-สวิส คาด ปีนี้ตลาดหดตัวอย่างต่ำ 20%

สมาคมเครื่องจักรกลซีกโลกตะวันตก คาดการณ์ทิศทางเดียวกัน ตลาดเครื่องจักรกลปี 2020 หดตัว 20 - 30% แม้จะมีวัคซีน แต่ยังต้องการเวลาฟื้นตัว

ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่น ต.ค. 63 ลดลงเล็กน้อย หลังทำยอดได้ดีในเดือนที่แล้ว

ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่น ต.ค. 63 ลดลงเล็กน้อย หลังทำยอดได้ดีในเดือนที่แล้ว

ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่น ต.ค. 63 ทั่วโลกมีมูลค่า 792 ล้านเหรียญ ลดลงอีกครั้งหลังเติบโตสูงในเดือนที่แล้ว

ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่น ก.ย. 63 ฟื้นตัว ทำสถิติสูงสุดรอบ 8 เดือน

ภาพรวมยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่น ก.ย. 63 ฟื้นตัว ทำสถิติสูงสุดรอบ 8 เดือน

ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่น ก.ย. 63 ทั่วโลกมีมูลค่า 813 ล้านเหรียญ พลิกกลับมาทำทำสถิติสูงสุดรอบ 8 เดือน หลายประเทศเริ่มฟื้นตัว

ส.เครื่องจักรกลญี่ปุ่น ชี้ ยอดสั่งซื้อเครื่องปีนี้ ตกต่ำสุดในรอบ 10 ปี

ส.เครื่องจักรกลญี่ปุ่น ชี้ ยอดสั่งซื้อเครื่องปีนี้ ตกต่ำสุดในรอบ 10 ปี

สมาคมผู้ผลิตเครื่องจักรกลญี่ปุ่นปรับลดตัวเลขคาดการณ์ยอดสั่งซื้อปี 2020 เหลือ 9.4 ล้านเหรียญ ต่ำสุดในรอบ 10 ปี

อาเซียนฟื้นตัว ดันยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่น ส.ค. 63 ปรับตัวดีขึ้น ยกเว้นไทย คาดตลาดเครื่องญี่ปุ่นทั่วโลกปีนี้ หดตัว 30.9%

อาเซียนฟื้นตัว ดันยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่น ส.ค. 63 ปรับตัวดีขึ้น ยกเว้นไทย คาดตลาดเครื่องญี่ปุ่นทั่วโลกปีนี้ หดตัว 30.9%

ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่น ส.ค. 63 ทั่วโลกมีมูลค่า 641 ล้านเหรียญ ลดลง 23.2% ประมาณการยอดรวมทั้งปีอยู่ที่ 8 พันล้านเหรียญ ตลาดหดตัว 30.9% จากปีที่แล้ว

ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่น เดือนกรกฎาคม 2020

สัญญาณบวก เอเชีย-จีน ฟื้น ทำสถิติสั่งซื้อเครื่องจักรกล เดือน ก.ค. สูงสุด

การฟื้นตัวของอุตสาหกรรมโครงสร้างพื้นฐาน โทรคมนาคม และยานยนต์ ในจีนและเอเชีย ทำสถิติยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลในเดือนกรกฎาคม 2020 สูงสุดในรอบปีกว่า

ยอดสั่งซื้อ Machine Tools เยอรมัน ไตรมาสที่ 2/2020

ยอดสั่งซื้อ Machine Tools เยอรมัน Q2 2020 สาหัส ตกเกือบ 50%

ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลเยอรมันไตรมาสที่ 2 ปี 2020 ลดลง 46% จากช่วงเดียวกันปีก่อน โดยยอดในประเทศลดลง 36%, ต่างประเทศลดลง 51%

German machine tools order 2020

ยอดสั่งซื้อ Machine Tools เยอรมัน ไตรมาสที่ 1/2020

ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลเยอรมันไตรมาสแรก 2020 ลดลง 25% จากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว โดยมียอดสั่งซื้อในประเทศลดลง 22% และจากต่างประเทศลดลง 27% ผลจากการระบาดของโควิด-19

โควิด ขวิด อุตสาหกรรมเครื่องจักรกล ร่วง

สมาคมผู้ผลิตเครื่องจักรกลญี่ปุ่น และสองค่ายผู้ผลิตยักษ์ใหญ่ Makino และ DMG MORI ได้แสดงความเห็นต่อสถานการณ์และแนวโน้มอุตสาหกรรมเครื่องจักรกล ที่ได้รับผลกระทบจากโควิดอย่างรุนแรงยิ่งกว่าสงครามการค้าจีน-สหรัฐฯ

สัญญาณดี!! Machine Tools เร่งฟื้นการผลิตในจีน รับการลงทุนใหม่ หลังโควิด

หลังผ่านพ้นช่วงวิกฤตการแพร่ระบาดของโรคโควิดในจีน ซึ่งมีสัญญาณที่ดีขึ้นเมื่อช่วงเดือนมีนาคมที่ผ่านมา ได้กระตุ้นให้ผู้ผลิตเครื่องจักรกลตัดสินใจเร่งฟื้นกำลังการผลิตในจีน โดยมี DMG MOR…

เทคโนโลยี “เครื่องจักรกลแห่งอนาคต” ที่ DMG MORI ต้องจับมือ Nikon ร่วมพัฒนา

การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลที่จะเกิดขึ้นทุก 10 ปี เครื่องจักรกลแห่งอนาคตนั้นจะเป็นเครื่องที่สามารถทำงานได้มากกว่าหนึ่งอย่าง DMG MORI จึงร่วมมือกับ Nikon พัฒนาเทคโนโลยีที่จะเป็นคลื่นลูกถัดไป

อุตสาหกรรมเครื่องจักรกล และหุ่นยนต์ เตรียมแผนฝ่าวิกฤต โควิด-19

สถานการณ์โควิด-19 ยังรุนแรงต่อเนื่อง และแน่นอนว่าส่งผลกระทบในวงกว้าง รวมถึงอุตสาหกรรมเครื่องจักรกล และหุ่นยนต์ ซึ่งเป็นเทคโนโลยีต้นน้ำของภาคการผลิต ที่จำเป็นต้องเตรียมแผนเพื่อฝ่าวิกฤตครั้งนี้